ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: rbifani
« เมื่อ: กันยายน 03, 2014, 10:23:29 am »

ดีมากเลยคะ ท่องแท้เลย พี่แทน
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 05, 2010, 09:58:16 pm »

คนเราทำบุญอายุ ถึงแค่ 72 เองนะครับ ..เป็นช่วงชีวิตเฉลี่ย แก่กว่านั้นก็คงใช้ชีวิตลำบากหน่อย

 :07: ขอบคุณครับพี่แทน
ข้อความโดย: แปดคิว
« เมื่อ: สิงหาคม 05, 2010, 07:05:04 pm »



พิธีทำบุญอายุ นั้น จัดขึ้นเพื่อความต้องการความสุขสวัสดี มีอายุยืนยาวเจริญวัฒนาต่อไปในภายภาคหน้า ส่วนใหญ่หากเป็นการทำบุญวันครบรอบวันเกิด โดยทั่วไปมักไม่ค่อย จัดใหญ่โตนัก เพียงทำบุญตักบาตรพระในตอนเช้า หรือถวายภัตตาหารพระที่วัด เสร็จแล้วจึงถวายจตุปัจจัยไทยธรรมตามศรัทธา เมื่อพระสวดเจริญพระพุทธมนต์ให้พร อนุโมทนา และกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศล ก็เป็นอันเสร็จพิธี

สำหรับการทำบุญอายุนั้น นิยมจัดเป็นงานใหญ่กว่าการทำบุญวันเกิด โดยทั่วไป เมื่ออยู่ในช่วงที่มีอายุเบญจเพส คือ 25 ปี หรือช่วงที่มี อายุกลางคน คือ 50 ปี หรือทำเมื่อครบ รอบ ทุก 12 ปี ซึ่งมักนิยมทำกันเมื่อครบ 5 รอบ คือ 60 ปี และ 6 รอบ คือ 72 ปี

สาเหตุที่นิยมทำเมื่ออายุครบ 25 ปี เพราะวัยเบญจเพสเป็นช่วง หัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิต จากวัยรุ่นเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ส่วนทำเมื่อครบ 50 ปีนั้น เพราะถือว่าอายุยืนยาว มาได้ครึ่ง หนึ่งของชีวิตแล้ว จึงควรทำบุญและเลี้ยงฉลอง แสดงความยินดี



ประวัติความเป็นมา

ในสมัยพุทธกาล มีพราหมณ์ 2 คนผัวเมีย พาลูกน้อยของตนไปหาพราหมณ์ที่เป็นสหายซึ่งถือพรตบำเพ็ญตบะ เมื่อพราหมณ์ 2 ผัวเมียทำความเคารพ พราหมณ์ที่ บำเพ็ญตบะได้กล่าวอำนวยพรว่า " ขอจงจำเริญอายุยืนนาน" แต่เมื่อให้บุตรของตนทำความเคารพ พราหมณ์ผู้บำเพ็ญตบะหาได้กล่าวอวยพรให้ตามธรรมเนียมไม่ โดยบอก เหตุผลบอกว่า ลูกน้อยของพราหมณ์ 2 ผัวเมียจะต้องตายภายใน 7 วัน

พราหมณ์ผู้บำเพ็ญตบะ ได้แนะนำให้พราหมณ์ 2 ผัวเมียพาลูกไปหาพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ได้ตรัสแถลงเช่นเดียวกัน และแนะนำอุบายป้องกัน โดยการนิมนต์พระ สงฆ์สวดพระปริตรตลอด 7 วัน ซึ่งพราหมณ์ทั้งสองก็กระทำตาม

ครั้นถึงวันที่ 7 พระพุทธองค์เสด็จไปด้วยพระองค์เอง ทำให้ยักษ์ผู้ได้รับพรมาเพื่อฆ่ากุมารไม่อาจทำอันตรายพระกุมารนั้นซึ่งนอนฟังพระปริตรอยู่ ด้วยพุทธานุภาพ ประกอบกับอายุไม่ถึงการดับแห่งขาร ทำให้ทารกนั้นรอดพ้นอันตราย และมีอายุยืนยาวถึง 120 ปี

http://variety.teenee.com/foodforbrain/28468.html