ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 22, 2011, 11:50:29 am »


                 

........มงคลชีวิต เรียงเรียงโดย พุทธทาสภิกขุ
1. จงอย่าเข้าไปเป็นพวกกับคนโง่เขลา
2. จงทำความสนิทสนมกับบัณฑิต
3. จงเสดงความเคารพนับถือต่อคนที่ควรเคารพนับถือ
4. จงอยู่ในที่ที่เหมาะสมแก่อุปนิสัยและความสามารถของตน
5. จงเป็นคนที่เคยทำความดีไว้มาก

6. จงประกอบกุศลกรรมเพื่อความรุ่งเรืองในอนาคต
7. จงทำความพึงพอใจในการดู การฟังทุกอย่างที่สามารถจะทำได้เพื่อให้ได้มาซึ่งวิชาความรู้
8. จงศึกษาทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งไม่ประกอบด้วยโทษ
9. จงฝึกฝนให้เป็นคนมีระเบียบวินัยและมีแบบแผนอันดี
10. จงพูดแต่คำจริง คำน่ารัก และคำมีประโยชน์

11. จงอุปัฏฐากมารดาและบิดา
12. จงเอาใจใส่เลี้ยงดูบุตร
13. จงเอาใจใส่เลี้ยงดูภรรยา
14. จงละเว้นความโลเลในการงาน
15. จงบำเพ็ญทาน

16. จงประพฤติแต่กรรมดี
17. จงช่วยเหลือญาติและมิตรสหายในคราวที่ควรช่วยเหลือ
18. จงเว้นการทำสิ่งที่ต้องเสียใจภายหลัง
19. จงอย่าทำสิ่งที่ท่านห้ามไว้โดยกฏแห่งศีลธรรม
20.จงเว้นจากการดื่มน้ำเมา

21. จงอย่าชักช้าที่จะประกอบกรรมดีในเมื่อโอกาสมาถึง
22. จงนอบน้อมต่อทุกคน
23. จงอย่าจองหองพองตัว
24. จงพอใจด้วยสิ่งที่มีอยู่
25. จงรู้บุญคุณที่บุคคลอื่นทำแก่ตน

26. จงฟังธรรมตามโอกาส
27. จงมีความอดกลั้นอดทน
28. จงทำตนให้เป็นคนยิ้มแย้มแจ่มใส
29. จงเยี่ยมเยียนพระอริยเจ้าอยู่เนืองนิจ
30. จงซักซ้อมสนทนาธรรมทุกโอกาส

31. จงเป็นอยุ่ด้วยความพากเพียร
32. จงประพฤติพรหมจรรย์
33. จงกำหนดอริยสัจสี่ไว้ในใจ
34. จงมีนิพพานที่มุ่งหมายของจิตอยู่เสมอ
35. เมื่อถูกสิ่งต่าง ๆ รบกวน จงอย่าหวั่นไหว

36. จงอย่าโศกเศร้า
37. จงอย่ากำหนัด
38. จงปรกติ
 
                           :http://board.dserver.org/p/plearn
                           อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ   
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 22, 2011, 11:05:39 am »






ใครรัก       ใครชัง   ช่างเถิด
ใครเชิด     ใครชู     ช่างเขา
ใครเบื่อ    ใครบ่น    ทนเอา
ใจเรา       ร่มเย็น     เป็นพอ

                         

ธรรมะ 9 ตา
โดย พระธรรมโกศาจารย์ (เงี่อม อินทปญโญ)
รวมหลักคำสอนหลักเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ของท่านพุทธทาส ทั้ง
1.อนิจจตา,
2. ทุกขตา,
3. อนัตตตา,
4. ธัมมัฏฐิตตา,
5. ธัมมนิยามตา,

6. อิทัปปัจจยตา,
7. สุญญตา,
8. ตถาตา
9, อตัมมยตา .